เจ้าหน้าที่ - เจ้าหน้าที่อาวุโส ส่วนบริหารผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และ ATM
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย- จัดทำรายงานที่จำเป็นต่อการพัฒนาบริการดิจิทัล, จัดทำคู่มือ Workflow ขั้นตอนการทำงาน,จัดเตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดทำ Marketing Plan
- สนับสนุนงานด้านบริการดิจิทัล เช่น เก็บ Requirement, Design, UAT, และ Implement บริการใหม่ๆ, แจ้งปัญหาการใช้งานบริการดิจิทัลให้ฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบ
- วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการพัฒนา หรือการปรับปรุงแก้ไขผลิตภัณฑ์ดิจิทัล
- ร่วมกับฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขผลิตภัณฑ์ดิจิทัลให้เป็นไปตามที่ได้ออกแบบ ตรวจสอบและติดตามการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไข ผลิตภัณฑ์ดิจิทัลให้เป็นไปตามแผน
- ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายในงานที่รับผิดชอบ
- ปริญญาตรี สาขานวัตกรรมดิจิทัล, การตลาดดิจิทัลเทคโนโลยีการเงินธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์, การจัดการข้อมูล หรือสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- สามารถใช้เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูล (BI Tools) ในระดับดี
- มีความเข้าใจกฎเกณฑ์ทางราชการที่เกี่ยวข้อง
- มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ โปรแกรม MS Office ในระดับดี
- กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
- ค่าช่วยเหลือบุตร
- ค่าทุนการศึกษา
- ค่ารักษาพยาบาลคู่สมรสและบุตร
- ค่าศึกษาบุตร
- ทำงานสัปดาห์ละ 5 วัน
- ประกันสุขภาพ
- ประกันอุบัติเหตุ
- สินเชื่อสวัสดิการพนักงาน
- เครื่องแบบพนักงาน, ชุดยูนิฟอร์ม
- โบนัสตามผลงาน/ผลประกอบการ

“ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย” จัดตั้งตามพระราชบัญญัติธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง ธนาคารตระหนักเสมอว่าบริการตามแนวทางอิสลาม สามารถสนองต่อความต้องการของประชาชนทั่วไปได้โดยไม่จำกัดให้อยู่เพียงในระบบธนาคารกระแสหลัก ธนาคารจึงมุ่งเน้นการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคารสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ปรับปรุงภาพลักษณ์ให้ทันสมัย และให้บริการโดยคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของลูกค้า ภายใต้หลักคุณธรรมที่ใส่ใจ ห่วงใยทุกกลุ่มสังคม เคร่งครัดในหลักศาสนาอิสลาม ยึดมั่นในสัญญาที่ตกลง และบริหารงานด้วยความโปร่งใส
ด้วยเหตุนี้ธนาคารอิสลาม จึงเป็นธนาคารที่แตกต่างและทางเลือกใหม่ให้กับทุกคน ไม่จำกัดเชื้อชาติและศาสนา และในเดือนตุลาคม 2550 กระทรวงการคลังได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคาร ทำให้ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยปัจุบันธนาคารมี 96 สาขา ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ